5 กันยายน 2557

ตั้ง ScriBus ให้รับ Render Frame เป็น XeLaTeX

ScriBus  เป็นโปรแกรมสำหรับจัดเรียงพิมพ์ แต่จะใช้งาน render frame เป็น pdfLaTeX ถ้าต้องการใช้งานฟอนต์ไทย ควรจะตั้งให้ใช้งานเป็น XeLaTeX ดีกว่า

1)  File/Preferences.../ External Tools  แล้วค่า LaTeX เป็น
                   xelatex --interaction=nonstopmode




2) เมื่อแทรก render frame เข้ามาแล้ว ให้ทำการ edit source..


    แล้วตั้งค่า Header

\usepackage{amsmath}
\usepackage{fontspec}
\usepackage{xunicode}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
\XeTeXlinebreaklocale "th"
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt
\setmainfont{Angsana New}


 ในช่วง Enter Code ใช้ใส่คำสั่ง XeLaTeX ปกติ แต่ใช้การกำหนดฟอนต์ตามตัวอย่าง

\section*{คู่มือ}
วางภาษาไทย \XeLaTeX ลงไปได้เหงื่อออกนิดหน่อย \\
ถ้าเห็นภาษาไทยได้แสดงว่าคุณทำสำเร็จแล้ว อ่ะอ่ะ
\\
\[J = \int r^2 \mathrm{d}m \]
\font\thai="LilyUPC:script=thai" at 14pt \thai $x^2+4$ ทดสอบภาษาไทย Test English Language



3) ตอน ส่งออกเป็นไฟล์ pdf ให้เลือกแบบ Embeded pdf คือฝัง pdf ไปเลยจะได้ชัด ๆ


ได้ผลลัพธ์ดังแสดง

 


ไม่ค่อยละเอียด ผมบันทึกไว้กันลืมสำหรับตัวเองครับ อ่ะอ่ะ


23 กรกฎาคม 2557

Template สำหรับ XeLaTeX ปรับปรุง 2557

บันทึกเก็บไว้ใช้งาน ตอนนี้ตั้ง ภาคผนวกให้เป็น ก ข ค แต่ยังไม่สวย แล้วก็ ไม่ต้องตั้งค่า fontspec สำหรับตัวเอียงแล้ว


\documentclass[a4paper]{book}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
\usepackage[top=25mm, bottom=20mm, left=25mm, right=25mm]{geometry}
\usepackage[titletoc,toc,title]{appendix}

\XeTeXlinebreaklocale "th"
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt
\setmainfont{TH Sarabun New}

\defaultfontfeatures{Scale=1.23}

\renewcommand{\baselinestretch}{1.2}

\setdefaultlanguage{thai}

\newfontfamily{\thaifont}[Script=thai]{TH Sarabun New}

\begin{document}


\frontmatter

\pagenumbering{thaialph}
\tableofcontents

\mainmatter

\chapter{บทแรก}
\section{บทนำ}

\noindent

ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ตัวปกติ\\
{\itshape ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ตัวเอียง} \\
{\bfseries ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ตัวหนา } \\
{\bfseries\itshape ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ตัวหนาเอียง} \\

ทดสอบใช้คำสั่ง \LaTeXe{}\\

ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ไฟฟ้า ปัญญา ตัวปกติ\\
\textbf{ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ไฟฟ้า ปัญญา ตัวหนา}\\
\textit{ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ไฟฟ้า ปัญญา ตัวเอียง}\\
\textsl{ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ไฟฟ้า ปัญญา ตัวเอน}\\
\textbf{\textit{ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ตัวหนาเอียง}}\\
%%\texttt{ป้า กะ ปู่ กู้อีจู้ ไฟฟ้า ปัญญา ตัวพิมพ์}

\chapter{บทสอง}

\section{บทนำ}
xxxx xxxxx xxxxx
\chapter{บทสาม}
\section{บทนำ}
xxxx xxxxx xxxxx

%% \backmatter %% ใช้ไม่ได้ หายหมด


%% ยังไม่ดีมาก แต่ก็ได้ ก ข ค

\begin{appendices}
\renewcommand*{\thechapter}{\thaiAlph{chapter}}
\chapter{ทดสอบภาคผนวก} %% ---------------------
\chapter{ทดสอบภาคผนวกอีกที} %% ---------------------
\end{appendices}

\end{document}


8 มิถุนายน 2555

แม่แบบสำหรับ XeLaTeX ภาษาไทย

ทำแม่แบบสำหรับ XeLaTeX ภาษาไทยไว้ เวลาต้องการใช้งานจะได้มาก๊อบเลย อันนี้สำหรับ หนังสือ

 \documentclass[a4paper]{book}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
\usepackage[top=25mm, bottom=20mm, left=25mm, right=25mm]{geometry}

\XeTeXlinebreaklocale "th"
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt
\setmainfont{TH Sarabun New}

\setdefaultlanguage{thai}
\newfontfamily{\thaifont}[Script=thai]{TH Sarabun New}

\begin{document}

\frontmatter
\pagenumbering{thaialph}
\tableofcontents

\mainmatter
\chapter{บทแรก}
\section{บทนำ}
xxxx xxxxx xxxxx
\chapter{บทสอง}
\section{บทนำ}
xxxx xxxxx xxxxx
\chapter{บทสาม}
\section{บทนำ}
xxxx xxxxx xxxxx

%\backmatter %% ยังไม่มีเวลาลองใส่ไว้ก่อน
\end{document}


12 พฤศจิกายน 2554

ทดสอบ Bibtex กับ XeLaTeX

  • สร้างไฟล์ test.tex
\documentclass[12pt,a4paper]{article}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
\usepackage[top=25mm, bottom=20mm, left=25mm, right=20mm]{geometry}
\XeTeXlinebreaklocale "th"
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt
\defaultfontfeatures{Scale=1.23}
\title{ชื่อบทความ}
%% ใช้ร่วมกับ polyglossia เพื่อให้ได้วันที่ภาษาไทย
\setdefaultlanguage{thai}
\newfontfamily{\thaifont}[Script=Thai]{TH SarabunPSK:script=thai}
\begin{document}
\fontspec[
ItalicFont={TH SarabunPSK Italic},
BoldFont={TH SarabunPSK Bold},
BoldItalicFont={TH SarabunPSK Bold Italic},
]{TH SarabunPSK}
\maketitle
\section*{ลองดูสิ}
ศึกษา \TeX\ อย่างละเอียด ให้ดู \cite{DK86} ถ้าต้องการเขียนสมการคณิตศาสตร์ให้ดู \cite{DK89}. แต่ถ้าเป็นของอาจารย์จักรี ลองอ้างอิงกับเล่มนี้ \cite{จักรีRC54} ดูนะครับ
\bibliographystyle{plain}
\bibliography{testBibXeTex}
\end{document}

  • สร้างไฟล์ testBibXeTex.bib
@book{DK86,
author = "D.E. Knuth",
title = "The {\TeX}book",
publisher = "Addison Wesley",
year = 1986
}
@article{DK89,
author = "D.E. Knuth",
title = "Typesetting Concrete Mathematics",
journal = "TUGboat",
volume = 10,
number = 1,
pages = "31--36",
month = apr,
year = 1989
}
@book{จักรีRC54,
author = "จักรี ติยะวงศ์สุวรรณ",
title = "การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก",
publisher = "มปพ",
year = 2554
}

ไฟล์ทั้งสองสร้างด้วย TexWorks แล้วไฟล์ test.tex ให้รันด้วยคำสั่ง xeletex+makeindex+bibtex จัดการรันสักสองรอบ เพื่อให้ได้เลขที่ถูกต้อง ผลลัพธ์ ดังแสดงในรูป

18 เมษายน 2554

XeLaTeX Template

บทความตอนนี้ไม่มีอะไรครับ เนื่องจากเวลาเริ่มเขียน XeLaTeX เอกสารชุดใหม่ ต้องคอยไปเปิดของเก่า ก๊อปปี้ แล้วตัดทอนส่วนที่ไม่ต้องการออก เลยคิดว่าจะทำเป็นแม่แบบ ใช้งานเอง เวลาจะทำใหม่ก็มาก๊อปปี้ได้เลย เพื่อความสะดวกในการใช้งานของผมเอง


แม่แบบที่ 1 อย่างง่าย

\documentclass[12pt,a4paper]{article}
\usepackage{xltxtra}

\begin{document}
\fontspec[
ItalicFont={TH SarabunPSK Italic},
BoldFont={TH SarabunPSK Bold},
BoldItalicFont={TH SarabunPSK Bold Italic},
]{TH SarabunPSK}


%% เนื้อหา

\end{document}


แม่แบบที่ 2 กรณีที่ต้องการใช้งานวันที่ภาษาไทย ให้ติด polyglossia เพิ่ม

\documentclass[12pt,a4paper]{article}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{polyglossia}
\usepackage[top=25mm, bottom=20mm, left=25mm, right=20mm]{geometry}
\XeTeXlinebreaklocale "th"
\XeTeXlinebreakskip = 0pt plus 1pt 
\defaultfontfeatures{Scale=1.23}

\title{ชื่อบทความ}

%% ใช้ร่วมกับ polyglossia เพื่อให้ได้วันที่ภาษาไทย
\setdefaultlanguage{thai}
\newfontfamily{\thaifont}[Script=Thai]{TH SarabunPSK:script=thai}

\begin{document}
\fontspec[
ItalicFont={TH SarabunPSK Italic},
BoldFont={TH SarabunPSK Bold},
BoldItalicFont={TH SarabunPSK Bold Italic},
]{TH SarabunPSK}


\maketitle
 %% เนื้อหา

\end{document} 

25 กุมภาพันธ์ 2554

หัดใช้งาน XeLaTeX กับเอกสารปริญญานิพนธ์

ตอนนี้ผมเริ่มสนใจที่จะใช้งาน XeLaTeX ในการสร้างเอกสารปริญญนิพนธ์ ถือว่าเป็นการฝึกใช้งานคำสั่ง LaTeX ไปในตัว จะบันทึกคำสั่งที่น่าสนใจไว้ก้นลืม ในตอนนี้จะยังไม่เข้าใจมากนัก ค่อย ๆ ทำไป เริ่มจากการลงทุนไปซื้อคู่มือ การจัดทำเอกสารปริญญานิพนธ์ก่อน 36 บาท (แล้วทำไม?ไม่มีดาวน์โหลด) เนื่องจากรูปเล่มปริญญานิพนธ์ของประเทศไทยไม่ตรงกับต่างประเทศ แต่ละส่วนของรูปเล่มจะเขียนคำสั่งกำหนดรูปแบบเองใหม่หมด วางเป็นโครงรูปเล่มไว้ก่อนหลังจากนั้นค่อยศึกษาวิธีการสร้างเป็น User Command ที่สามารถส่งผ่าน Arguments ได้

ออกแบบให้มีโฟลด์เดอร์อยู่สามโฟลด์เดอร์ เพื่อให้สะดวกในการจัดการไฟล์เนื่องจากหลังจากคอมไพล์แล้วจะมีไฟล์ย่อย ๆ เกิดขึ้นมากเมื่อแยกโฟลด์เดอร์ ไฟล์ .aux และ .log ก็จะกระจายไปตามโฟลด์เดอร์ย่อยด้วย แล้วคุมบนสุดด้วย FullReport.tex ตัวเดียว แยกตามส่วนคือ
  1. front ไว้จัดเก็บไฟล์ของส่วนหน้าของเอกสาร
  2. body เก็บ chap01 - 05
  3. ส่วนหลัง จะเก็บการอ้างอิง

ข้อกำหนด
  • ตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้แบบ Angsana New ตลอดทั้งเล่ม ดังนั้นต้องใช้งาน XeLaTeX แน่นอน เพื่อดึง True Type Font ของระบบวินโดว์ แต่ต้องมีเทคนิคนิดหน่อยเกี่ยวกับวรรณยุกต์ลอย

ส่วนประกอบของปริญญานิพนธ์
  1. ส่วนนำ (Front Matter)
  2. ส่วนเนื้อหา (Body Matter)
  3. ส่วนอ้างอิง (Back Matter)
ส่วนนำ ยังแบ่งเป็นส่วนต่าง ๆ อีกดังนี้
  1. ปกนอก
  2. รองปกใน หน้าเปล่า
  3. ปกใน ภาษาไทย
  4. ปกใน ภาษาอังกฤษ
  5. ใบรับรองปริญญานิพนธ์ ภาษาไทย
  6. ใบรับรองปริญญานิพนธ์ ภาษาอังกฤษ
  7. บทคัดย่อ ภาษาไทย
  8. บทคัดย่อ ภาษาอังกฤษ
  9. กิตติกรรมประกาศ
  10. สารบัญเนื้อเรื่อง
  11. สารบัญรูป
  12. สารบัญตาราง (ถ้ามี)
  13. สารบัญสัญลักษณ์ (ถ้ามี)

คำสั่ง
  • ไม่ต้องการให้แสดงเลขหน้า ใช้ \thispagestyle{empty}
  • ต้องการแสดงเลขหน้าเป็นภาษาไทย ใช้ \pagenumbering{thaialph}
  • ใช้งานแพกเกจ fancyhdr เพื่อควบคุมส่วนหัวกระดาษ ท้ายกระดาษ
  • แทรกหน้าเปล่าแบบไม่มีเลขหน้า ใช้ \newpage\thispagestyle{empty}\mbox{}\newpage
  • ซ่อนหมายเลขหน้าของแผ่นแรกแต่ละบท หลังคำสั่ง \chapter{....} ใช้ \thispagestyle{empty}
  • การแทรกคำว่าหน้าใต้คำว่าสารบัญใช้แพกเกจ tocloft คำสั่ง \renewcommand\cftaftertoctitle{\hfill\null\\\null\hfill\textbf{หน้า}}  ดูอ้างอิงได้ที่นี่
แพกเกจ
  • tocloft ใช้ในการควบคุมสารบัญ ยังไม่แน่ใจวิธีใช้งาน แต่จะทดลองใช้แพกเกจนี้ก่อน เนื่องจากวิธีแก้ปัญหาแบบเดิมใช้ได้กับ LaTeX แต่มีปัญญากับ XeLaTeX และทดสอบดูแล้วใช้งานร่วมกับแพกเกจ polyglossia ได้ และเห็นว่าใช้แพกเกจ titletoc จะมีปัญหากับ XeLaTeX (แต่ยังไม่ได้ลอง)



เว็บอ้างอิง

ทดสอบ MikTeX 2.9(XeLaTex) + 13 ฟอนต์ราชการ


ใช้ MikTeX 2.9 Basic ทดสอบทั้งหมด 13 ฟอนต์

% ------ Test MikTeX 2.9(XeLaTex) + 13 ฟอนต์ ราชการ
% ----- 2011 Jan 30 Chakkree Tiyawongsuwan
\documentclass[11pt,a4paper]{article}
\usepackage{xltxtra}
\usepackage{fontspec}

\XeTeXlinebreaklocale "th"
\setmainfont{TH SarabunPSK}

\newcommand{\bangkokfullname}{
\noindent กรุงเทพมหานคร อมรรัตรโกสินทร์ \\
มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ \\
นพรัตนราชธานีบูรีรมย์\\
อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน\\
อมรพิมานอวตารสถิต\\
สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์\\
}

\begin{document}
\noindent
1. TH SarabunPSK ออกแบบโดย คุณศุภกิจ เฉลิมลาภ \newline
\bangkokfullname
\newline
2. TH Charmonman ออกแบบโดยคุณเอกลักษ์ เพียรพนาเวช \newline
{\fontspec{TH Charmonman} \bangkokfullname }
\newline
3. TH Krub ออกแบบโดยคุณเอกลักษณ์ เพียรพนาเวช\newline
{\fontspec{TH Krub} \bangkokfullname }
\newline
4. TH Srisakdi ออกแบบโดย ทีม อักษราเมธี (คุณไพโรจน์ เปี่ยมประจักพงษ์,คุณบวร จรดล)\newline
{\fontspec{TH Srisakdi} \bangkokfullname }
\newline
5. TH Niramit AS ออกแบบโดย ทีม อักษราเมธี (คุณไพโรจน์ เปี่ยมประจักพงษ์,คุณบวร จรดล)\newline
{\fontspec{TH Niramit AS} \bangkokfullname }
\newline
6. TH Charm of AU ออกแบบโดย คุณกัลยาณมิตร นรรัตน์พุทธิ\newline
{\fontspec{TH Charm of AU} \bangkokfullname }
\newline
7. TH Kodchasal ออกแบบโดย คุณกัลย์สุดา เปี่ยมประจักพงษ์\newline
{\fontspec{TH Kodchasal} \bangkokfullname }
\newline
8. TH K2D July8 (8 กรกฏา) ออกแบบโดย คุณกานต์ รอดสวัสดิ์\newline
{\fontspec{TH K2D July8} \bangkokfullname }
\newline
9. TH Mali Grade 6 ออกแบบโดย คุณสุดารัตน์ เลิศสีทอง\newline
{\fontspec{TH Mali Grade 6} \bangkokfullname }
\newline
10. TH Chakra Petch (จักรเพชร) ออกแบบโดย คุณธีรวัฒน์ พจน์วิบูลศิริ\newline
{\fontspec{TH Chakra Petch} \bangkokfullname }
\newline
11. TH Baijam ออกแบบโดย ทีม PITA (คุณรพี สุวีรานนท์, คุณวิโรจน์ จิรพัฒนกุล)\newline
{\fontspec{TH Baijam} \bangkokfullname }
\newline
12. TH KoHo ออกแบบโดย กลุ่ม ก-ฮ (คุณขาม จาตุรงคกุล, คุณกนกวรรณ แพนไธสง, คุณขนิษฐา สิทธิแย้ม)\newline
{\fontspec{TH KoHo} \bangkokfullname }
\newline
13. TH Fah Kwang ออกแบบโดย ทีม สิบเอ็ด (คุณกิตติ ศิริรัตนบุญชัย, คุณนิวัฒน์ ภัทโรวาสน์)\newline
{\fontspec{TH Fah kwang} \bangkokfullname }
\newline
\end{document}